| ประเภทของใบอนุญาต ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบัน ใบอนุญาตขายยาแผนปัจจุบันเฉพาะยาบรรจุเสร็จ ใบอนุญาตขายยาเสพติดให้โทษประเภท 3 |
| | มาตรา 35 ผู้รับอนุญาตผู้ใดเลกกิจการที่ได้รับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ต้องแจ้งการเลิกกิจการเป็นหนังสือให้ผู้อนุญาตทราบไม่เกิน 15 วัน นับตั้งแต่วันเลิกกิจการและให้ถือว่าใบอนุญาตหมดอายุตั้งแต่วันเลิกกิจการตามที่แจ้งไว้นั้น |
|
| มีสถานที่ขายยาและอุปกรณ์ที่ใช้ในการ |
| | อยู่ประจำตลอดเวลาที่เปิดทำการ |
|
| ยาแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่ไม่เหมือนกัน การเก็บรักษาที่ดีให้เหมาะกับคุณสมบัติของยานั้น ๆ จะช่วยให้ยาคงสภาพ และมีคุณภาพอยู่ได้นาน โดยส่วนใหญ่บริษัทจะระบุวิธีการเก็บรักษาหรืออุณหภูมิที่ควรเก็บไว้ข้างภาชนะบรรจุ |
| | รายชื่อยาที่ต้องทดสอบ dissolution |
|
| ป้ายแสดงว่าเป็นสถานที่ขายยา |
| | ประเภทของยาตามกฎหมาย ความสำคัญและการจำแนก |
|
| พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม กฎกระทรวงฉบับที่ 21 พ.ศ. 2528 |
| | มีฉลากช่วยและเอกสารความรู้สนับสนุนการบริการอย่างเหมาะสมเมื่อเปิดดำเนินการแล้ว |
|
| เลขทะเบียนตำรับยาและความหมาย ยาทุกรายการที่ได้รับอนุญาตต้องแสดงเลขทะเบียนตำรับ ซึ่งประกอบด้วยชุดตัวเลขและตัวอักษร |
| | ยาที่ห้ามจำหน่าย ความสำคัญ และวิธีการจำแนก |
|
| พระราชบัญญัติยากำหนดให้จำแนกยาเป็นสัดส่วน กล่าวคือ ยาควบคุมพิเศษ ต้องวางอยู่ในส่วนเดียวกัน แยกต่างหากจากยาอันตราย และยาสามัญประจำบ้าน ขณะเดียวกัน ยาที่จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์และยาเสพติด ต้องแยกกลุ่มด้วย |
| | ฉลากยานับว่ามีความสำคัญทางด้านกฎหมาย นอกเหนือไปจากด้านวิชาการดังต่อไปนี้ |
|
| ยาทุกชนิดอาจเกิดโทษร่างกายได้ อันตรายหรือฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์จากยาอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุ และเกิดได้กับทุกคนทุกโอกาส เช่น ขนาดยาที่ใช้มากเกินไป การตอบสนองของร่างกายต่อยาที่แตกต่างกันของแต่ละบุคคลอายุของผู้ใช้ยา การใช้ยาหลายขนานร่วมกัน |
| | หน้าที่ตามพระราชบัญญัติยาดังต่อไปนี้ มาตรา 91 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ |
|
|